Banner blog website.png
เผยแพร่เมื่อ: 2023-05-29

มาตรา 52 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

“มาตรา 52 หรือ “ป.พ.พ. มาตรา 52” คืออะไร? 


“มาตรา 52” หรือ “ป.พ.พ. มาตรา 52 “ คือ หนึ่งในมาตราของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 
ซึ่งบัญญัติไว้ว่า “ผู้จัดการทรัพย์สินที่ศาลได้ตั้งขึ้น ต้องทำบัญชีทรัพย์สินของผู้ไม่อยู่ให้เสร็จภายในสามเดือนนับแต่วันทราบคำสั่งตั้งของศาล แต่ผู้จัดการทรัพย์สินจะร้องขอต่อศาลให้ขยายเวลาก็ได้  “

 

ค้นหาได้ทุกเรื่อง : "บทความทางกฎหมาย, คำปรึกษาจริงพร้อมคำตอบจากทนายความ, มาตรากฎหมาย" >> คลิก !

 


1 ตัวอย่างจริงของการใช้” มาตรา 52” หรือ “ป.พ.พ. มาตรา 52 ” ในประเทศไทย


1. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1681/2515
ขณะเกิดเหตุจำเลยเป็นทหารเรือประจำการจึงเป็นบุคคลที่อยู่ในอำนาจศาลทหาร แม้จำเลยจะได้กระทำความผิดอาญาต่อพลเรือนก็ต้องฟ้องจำเลยที่ศาลทหารตามที่บังคับไว้ในพระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ. 2498
คดีแพ่งที่ต้องเสนอคำฟ้องต่อศาลที่จำเลยมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาลนั้น เมื่อปรากฏว่าจำเลยมีถิ่นที่อยู่ 2 แห่ง คือ ที่จังหวัดราชบุรีซึ่งเป็นภูมิลำเนาเดิมแห่งหนึ่งกับที่นครหลวงกรุงเทพธนบุรีอันเป็นถิ่นที่ทำการงานเป็นปกติอีกแห่งหนึ่ง โจทก์ยื่นฟ้องจำเลยที่ศาลจังหวัดราชบุรี จึงเป็นการชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 4(2) แล้ว
ฎีกาอื่นที่เกี่ยวข้องแยกตามกฎหมายและมาตรา
พ.ร.บ.ธรรมนูญศาลทหาร พ.ศ.2498 ม. 13, ม. 16 (3)
ป.วิ.พ. ม. 4 (2)
ป.พ.พ. ม. 45, ม. 52
 

ข้อจำกัดความรับผิดชอบ: ข้อมูลเหล่านี้อาจไม่ใช่เวอร์ชันล่าสุด รัฐบาลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอาจมีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันหรือแม่นยำกว่า เราไม่รับประกันหรือรับประกันเกี่ยวกับความถูกต้อง ความสมบูรณ์ หรือความเพียงพอของข้อมูลที่มีอยู่ในเว็บไซต์นี้หรือข้อมูลที่เชื่อมโยงกับเว็บไซต์ของรัฐ โปรดตรวจสอบแหล่งที่มาอย่างเป็นทางการ
ข้อมูลอ้างอิงจากเว็บไซต์ : www.krisdika.go.th, deka.supremecourt.or.th
แนะนำโดย Legardy
cta
ปรึกษาทนายได้ตลอด 24 ชม.
เพียงกดปุ่ม ปรึกษาได้ทันที