Banner blog website.png
เผยแพร่เมื่อ: 2023-05-30

มาตรา 501 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

“มาตรา 501 หรือ “ป.พ.พ. มาตรา 501” คืออะไร? 


“มาตรา 501” หรือ “ป.พ.พ. มาตรา 501 “ คือ หนึ่งในมาตราของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 
ซึ่งบัญญัติไว้ว่า “ ทรัพย์สินซึ่งไถ่นั้น ท่านว่าต้องส่งคืนตามสภาพที่เป็นอยู่ในเวลาไถ่ แต่ถ้าหากว่าทรัพย์สินนั้นถูกทำลายหรือทำให้เสื่อมเสียไปเพราะความผิดของผู้ซื้อไซร้ ท่านว่าผู้ซื้อจะต้องใช้ค่าสินไหมทดแทน “

 


2 ตัวอย่างจริงของการใช้” มาตรา 501” หรือ “ป.พ.พ. มาตรา 501 ” ในประเทศไทย


1. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 517/2495
ในการขายฝากช้างกันนั้นถ้าผู้ซื้อฝากใช้ช้างให้ทำการงานเกินสมควรแม้ช้างเจ็บป่วยก็ไม่ให้หยุดพักรักษาให้ช้างสมบูรณ์ดีเสียก่อน กลับใช้งานจนช้างตายดังนี้ผู้ซื้อฝากต้องรับผิดใช้ค่าเสียหายแก่ผู้ขายฝากตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 501
โจทก์ที่ 1 ซื้อช้างจากโจทก์ที่2 ชำระราคาช้างและส่งมอบช้างกันเสร็จเด็ดขาดแล้ว แต่ยังมิได้โอนตั๋วพิมพ์รูปพรรณ ต่อมาโจทก์ที่ 1เอาช้างนั้นไปขายฝากไว้แก่จำเลย แต่ให้โจทก์ที่ 2 เป็นคู่สัญญากับจำเลยในการทำสัญญาขายฝากที่อำเภอ เพราะยังมีชื่อโจทก์ที่2 เป็นเจ้าของในตั๋วพิมพ์รูปพรรณอยู่ ดังนี้ ภายหลังจำเลยทำช้างตายโดยความผิดของจำเลย โจทก์ที่ 1 และโจทก์ที่ 2 ย่อมมีอำนาจมาเป็นโจทก์ร่วมกัน ฟ้องจำเลยให้ใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ที่ 1 ซึ่งเป็นเจ้าของช้างที่แท้จริงได้
ฎีกาอื่นที่เกี่ยวข้องแยกตามกฎหมายและมาตรา
ป.วิ.พ. ม. 55, ม. 172
ป.พ.พ. ม. 228, ม. 456, ม. 501, ม. 797, ม. 806, ม. 1336


2. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 517/2495
ในการขายฝากช้างกันนั้น ถ้าผู้ซื้อฝากใช้ช้างให้ทำการงานเกินสมควร แม้ช้างเจ็บป่วยก็ไม่ให้หยุดพักรักษาช้างสมบูรณ์ดีเสียก่อน กลับใช้งานจนช้างตาย ดังนี้ ผู้ซื้อฝากต้องรบผิดใช้ค่าเสียหายแก่ผู้ขายฝากตาม ป.ม.แพ่งฯมาตรา 501.
โจทก์ที่ 1 ซื้อช้างจากโจทก์ที่ 2 ชำระราคาช้าง และส่งมอบช้างกันเสร็จเด็ดขาดแล้ว แต่ยังมิได้โอนตั๋วพิมพ์รูปพรรณ ต่อมาโจทก์ที่ 1 เอาช้างนั้นไปขายฝากไว้แก่จำเลย แต่ให้โจทก์ที่ 2 เป็นคู่สัญญากับจำเลยในการทำสัญญาขายฝากที่อำเภอ เพราะยังมีชื่อโจทก์ที่ 2 เป็นเจ้าของในตั๋วพิมพ์รูปพรรณอยุ่ ดังนี้ ภายหลังจำเลยทำช้างตายโดยความผิดของจำเลย โจทก์ที่ 1 และโจทก์ที่ 2 ย่อมมีอำนาจมาเป็นโจทก์ร่วมกัน ฟ้องอำนาจเป็นโจทก์ร่วมกัน ฟ้องจำเลยให้ใช้ค่าเสียหายแก่โจทก์ที่ 1 ซึ่งเป็นเจ้าของช้างที่แท้จริง ได้
ฎีกาอื่นที่เกี่ยวข้องแยกตามกฎหมายและมาตรา
ป.วิ.พ. ม. 55, ม. 172
ป.พ.พ. ม. 228, ม. 456, ม. 501, ม. 797, ม. 8006, ม. 1336.
 

ข้อจำกัดความรับผิดชอบ: ข้อมูลเหล่านี้อาจไม่ใช่เวอร์ชันล่าสุด รัฐบาลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอาจมีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันหรือแม่นยำกว่า เราไม่รับประกันหรือรับประกันเกี่ยวกับความถูกต้อง ความสมบูรณ์ หรือความเพียงพอของข้อมูลที่มีอยู่ในเว็บไซต์นี้หรือข้อมูลที่เชื่อมโยงกับเว็บไซต์ของรัฐ โปรดตรวจสอบแหล่งที่มาอย่างเป็นทางการ
ข้อมูลอ้างอิงจากเว็บไซต์ : www.krisdika.go.th, deka.supremecourt.or.th
แนะนำโดย Legardy
cta
ปรึกษาทนายได้ตลอด 24 ชม.
เพียงกดปุ่ม ปรึกษาได้ทันที