Banner blog website.png
เผยแพร่เมื่อ: 2023-06-01

มาตรา 1319 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

“มาตรา 1319 หรือ “ป.พ.พ. มาตรา 1319” คืออะไร? 


“มาตรา 1319” หรือ “ป.พ.พ. มาตรา 1319 “ คือ หนึ่งในมาตราของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ 
ซึ่งบัญญัติไว้ว่า “ ถ้าเจ้าของสังหาริมทรัพย์เลิกครอบครองทรัพย์ด้วยเจตนาสละกรรมสิทธิ์ไซร้ ท่านว่าสังหาริมทรัพย์นั้นไม่มีเจ้าของ “


2 ตัวอย่างจริงของการใช้” มาตรา 1319” หรือ “ป.พ.พ. มาตรา 1319 ” ในประเทศไทย


1. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 902/2485
ที่บ้านซึ่งซื้อมาโดยทำการโอนกันต่อกรมการอำเภอตามระเบียบผู้ซื้อย่อมได้กรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย. โอนที่บ้านโดยทำสัญญากันเองผู้รับโอนจะต้องครอบครองถึง9-10 ปี จึงจะได้กรรมสิทธิ์.
ฎีกาอื่นที่เกี่ยวข้องแยกตามกฎหมายและมาตรา
ป.พ.พ. ม. 1299, ม. 1382, ม. 1298, ม. 1310, ม. 1311, ม. 1319, ม. 1333

 


2. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 277/2481
พฤตติการณ์ที่ไม่ถือว่าเป็นการสละกรรมสิทธิโจทก์เอาสายสร้อย 4 สายมาประดับองค์พระพุทธรูปทองคำโดยมิได้มีเจตนาสละกรรมสิทธิ จำเลยซึ่งเป็นผู้ครอบครองพระพุทธรูปก็รู้ถึงเจตนาอันนี้ ทั้งมิได้ครอบครองพระพุทธรูปนั้นโดยเจตนาเป็นเจ้าของดังนี้ต้องถือว่าจำเลยปกครองสายสร้อยนี้แทนโจทก์อายุความตาม ม.169 ยังมิเริ่มนับตราบเท่าที่จำเลยยังมิได้เลมิดสิทธิของโจทก์โจทก์ยังเรียกร้องคืนได้
ฎีกาอื่นที่เกี่ยวข้องแยกตามกฎหมายและมาตรา
ป.พ.พ. ม. 163, ม. 164, ม. 1319, ม. 1368, ม. 1382
 

ข้อจำกัดความรับผิดชอบ: ข้อมูลเหล่านี้อาจไม่ใช่เวอร์ชันล่าสุด รัฐบาลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอาจมีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันหรือแม่นยำกว่า เราไม่รับประกันหรือรับประกันเกี่ยวกับความถูกต้อง ความสมบูรณ์ หรือความเพียงพอของข้อมูลที่มีอยู่ในเว็บไซต์นี้หรือข้อมูลที่เชื่อมโยงกับเว็บไซต์ของรัฐ โปรดตรวจสอบแหล่งที่มาอย่างเป็นทางการ
ข้อมูลอ้างอิงจากเว็บไซต์ : www.krisdika.go.th, deka.supremecourt.or.th
แนะนำโดย Legardy
cta
ปรึกษาทนายได้ตลอด 24 ชม.
เพียงกดปุ่ม ปรึกษาได้ทันที