“มาตรา 1187 หรือ “ป.พ.พ. มาตรา 1187” คืออะไร?
“มาตรา 1187” หรือ “ป.พ.พ. มาตรา 1187 “ คือ หนึ่งในมาตราของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ซึ่งบัญญัติไว้ว่า “ ผู้ถือหุ้นทุกคนจะมอบฉันทะให้ผู้อื่นออกเสียงแทนตนก็ได้ แต่การมอบฉันทะเช่นนี้ต้องทำเป็นหนังสือ “
1 ตัวอย่างจริงของการใช้” มาตรา 1187” หรือ “ป.พ.พ. มาตรา 1187 ” ในประเทศไทย
1. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 76/2536
จำเลยที่ 3 เป็นหุ้นส่วนผู้จัดการจำเลยที่ 1 จำเลยที่ 1มอบหมายให้จำเลยที่ 4 ซื้อไม้จากโจทก์ จำเลยที่ 3 จึงต้องร่วมกับจำเลยที่ 1 รับผิดชำระราคาไม้แก่โจทก์ ส่วนจำเลยที่ 4 ซึ่งเป็นตัวแทนของจำเลยที่ 1 ได้กระทำการแทนจำเลยที่ 1 ในการซื้อไม้จากโจทก์ตามที่ได้รับมอบหมาย จึงไม่ต้องร่วมรับผิดด้วย โจทก์จึงไม่มีอำนาจฟ้องจำเลยที่ 4 ปัญหานี้เป็นปัญหาข้อกฎหมายอันเกี่ยวด้วยความสงบเรียบร้อยของประชาชน แม้จำเลยที่ 4 มิได้ฎีกาขึ้นมาศาลฎีกาก็เห็นสมควรยกขึ้นวินิจฉัย และพิพากษาให้ยกฟ้องโจทก์สำหรับจำเลยที่ 4 ได้
ฎีกาอื่นที่เกี่ยวข้องแยกตามกฎหมายและมาตรา
ป.พ.พ. ม. 820, ม. 1077, ม. 1187
ป.วิ.พ. ม. 55, ม. 142