Banner blog website.png
เผยแพร่เมื่อ: 2023-05-26

มาตรา 385 แห่งประมวลกฎหมายอาญา

“มาตรา 385 หรือ มาตรา 385 อาญา คืออะไร?


“มาตรา 385 ” หรือ “มาตรา 385 อาญา” คือหนึ่งในมาตราของประมวลกฎหมายอาญา 
ซึ่งบัญญัติไว้ว่า “ ผู้ใดโดยไม่ได้รับอนุญาตอันชอบด้วยกฎหมายกีดขวางทางสาธารณะ จนอาจเป็นอุปสรรคต่อความปลอดภัยหรือความสะดวกในการจราจร โดยวาง หรือทอดทิ้งสิ่งของ หรือโดยกระทำด้วยประการอื่นใด ถ้าการกระทำนั้นเป็นการกระทำโดยไม่จำเป็น ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท
              [อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๖ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ. ๒๕๕๘] “

 

ปรึกษาปัญหาทางกฎหมายฟรี
ตลอด 24 ชั่วโมง

  • ทนายให้ ปรึกษามากกว่า 3000 ครั้ง
    ฟรีบนแพล็ตฟอร์ม
  • ฟรี และไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม
  • ปรึกษาได้ทุกเรื่องราว ไม่ระบุตัวตนของผู้ถาม


3 ตัวอย่างจริงของการใช้ “มาตรา 385” หรือ “มาตรา 385 อาญา” ในประเทศไทย


1. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 471/2534
โจทก์ทั้งสองกับจำเลยที่ 1 ที่ 2 มีสาเหตุกัน จนกระทั่งจำเลยที่ 1 ได้ฟ้องโจทก์ทั้งสองเป็นคดีแพ่งขอให้เปิดทางภารจำยอมคดีอยู่ในระหว่างพิจารณาปรากฏว่าประจักษ์พยานโจทก์คงมีแต่ตัวโจทก์ทั้งสองและ ส. บุตรโจทก์ทั้งสอง ดังนี้การรับฟังคำเบิกความของประจักษ์พยานโจทก์ต้องรับฟังด้วยความระมัดระวัง เมื่อพยานหลักฐานโจทก์ทั้งสองมีความสงสัยตามสมควร ว่าจำเลยที่ 1 ที่ 2 กระทำความผิดหรือไม่ ก็ต้องยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้แก่จำเลยที่ 1ที่ 2 ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 227 วรรคสอง.


2. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ADMIN 3918/2529
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้นให้จำคุกจำเลย1ปีปรับ5,000บาทให้รอการลงโทษจำคุกไว้คดีจึงต้องห้ามฎีกาในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา218 ฟ้องของโจทก์ในข้อหาบุกรุกยึดถือครอบครองทางสาธารณะอันเป็นที่ดินของรัฐตามประมวลกฎหมายที่ดินนั้นโจทก์ไม่จำต้องบรรยายฟ้องว่าที่ดินพิพาทนั้นเป็นที่ดินของรัฐได้อย่างไรและเป็นที่ดินของรัฐตั้งแต่เมื่อใดเพราะเป็นรายละเอียดที่โจทก์จะต้องนำสืบในชั้นพิจารณาคดีเป็นฟ้องที่ชอบด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา158(5)แล้ว ที่พิพาทแม้ทางราชการจะเคยให้เอกชนเช่าอยู่3ปีก็เลิกเช่าแต่ประชาชนสัญจรไปมาในที่พิพาทตลอดมาถือได้ว่าที่พิพาทยังคงเป็นที่ดินของรัฐเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ประชาชนใช้ร่วมกันโจทก์มีอำนาจฟ้องให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายที่ดินมาตรา108ทวิได้.


3. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 3918/2529
ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนตามคำพิพากษาศาลชั้นต้น ให้จำคุกจำเลย 1 ปีปรับ 5,000 บาท ให้รอการลงโทษจำคุกไว้ คดีจึงต้องห้ามฎีกา ในปัญหาข้อเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 218
ฟ้องของโจทก์ในข้อหาบุกรุกยึดถือครอบครองทางสาธารณะ อันเป็น ที่ดินของรัฐตามประมวลกฎหมายที่ดินนั้นโจทก์ไม่จำต้อง บรรยายฟ้องว่า ที่ดินพิพาทนั้นเป็นที่ดินของรัฐได้อย่างไรและเป็น ที่ดินของรัฐตั้งแต่เมื่อใด เพราะเป็นรายละเอียดที่โจทก์จะต้อง นำสืบในชั้นพิจารณาคดีเป็นฟ้องที่ชอบ ด้วยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา158(5) แล้ว
ที่พิพาทแม้ทางราชการจะเคยให้เอกชนเช่าอยู่ 3 ปีก็เลิกเช่า แต่ประชาชนสัญจรไปมาในที่พิพาทตลอดมาถือได้ว่า ที่พิพาทยังคง เป็นที่ดินของรัฐเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ประชาชนใช้ ร่วมกัน โจทก์มีอำนาจฟ้องให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 108 ทวิ ได้

 

ข้อจำกัดความรับผิดชอบ: ข้อมูลเหล่านี้อาจไม่ใช่เวอร์ชันล่าสุด รัฐบาลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอาจมีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันหรือแม่นยำกว่า เราไม่รับประกันหรือรับประกันเกี่ยวกับความถูกต้อง ความสมบูรณ์ หรือความเพียงพอของข้อมูลที่มีอยู่ในเว็บไซต์นี้หรือข้อมูลที่เชื่อมโยงกับเว็บไซต์ของรัฐ โปรดตรวจสอบแหล่งที่มาอย่างเป็นทางการ
ข้อมูลอ้างอิงจากเว็บไซต์ : www.krisdika.go.th, deka.supremecourt.or.th
แนะนำโดย Legardy
mini_call_to_action_picture

ทนายความมากกว่า 500 คน ทั่วประเทศ พร้อมให้คำปรึกษา เพียง 33 บาท