Banner blog website.png
เผยแพร่เมื่อ: 2023-05-26

มาตรา 306 แห่งประมวลกฎหมายอาญา

“มาตรา 306 หรือ มาตรา 306 อาญา คืออะไร?


“มาตรา 306 ” หรือ “มาตรา 306 อาญา” คือหนึ่งในมาตราของประมวลกฎหมายอาญา 
ซึ่งบัญญัติไว้ว่า “ผู้ใดทอดทิ้งเด็กอายุยังไม่เกินเก้าปีไว้ ณ ที่ใด เพื่อให้เด็กนั้นพ้นไปเสียจากตน โดยประการที่ทำให้เด็กนั้นปราศจากผู้ดูแล ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
              [อัตราโทษ แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา (ฉบับที่ ๒๖) พ.ศ. ๒๕๖๐] “

 

ปรึกษาปัญหาทางกฎหมายฟรี
ตลอด 24 ชั่วโมง

  • ทนายให้ ปรึกษามากกว่า 3000 ครั้ง
    ฟรีบนแพล็ตฟอร์ม
  • ฟรี และไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม
  • ปรึกษาได้ทุกเรื่องราว ไม่ระบุตัวตนของผู้ถาม


3 ตัวอย่างจริงของการใช้ “มาตรา 306” หรือ “มาตรา 306 อาญา” ในประเทศไทย


1. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2158 - 2160/2529
จำเลยไม่มีสาเหตุโกรธเคืองกับโจทก์ที่2ที่3ขณะที่โจทก์ที่2ที่3ไปจับกุมจำเลยจำเลยยิงโจทก์ที่3ถูกที่ต้นคอในขณะที่มีการยื้อแย่งปืนกันโดยจำเลยมิได้มีโอกาสเลือกยิงเมื่อจำเลยยิงโจทก์ที่3ล้มลงแล้วโจทก์ที่3ไม่อยู่ในฐานะที่จะต่อสู้กับจำเลยจำเลยมีโอกาสจะยิงโจทก์ที่3อีกเป็นเวลานานแต่จำเลยก็หาได้ยิงโจทก์ที่3ไม่จึงยังฟังไม่ได้ว่าจำเลยมีเจตนาฆ่าโจทก์ที่3ส่วนที่จำเลยยิงโจทก์ที่2ปรากฏว่าขณะยิงจำเลยอยู่ใกล้กับโจทก์ที่2และมีโอกาสจะเลือกยิงโจทก์ที่2ตรงไหนก็ได้แต่จำเลยกลับยิงที่ขาของโจทก์ที่2แสดงว่าจำเลยไม่มีเจตนาฆ่าโจทก์ที่2เพราะหากจำเลยมีเจตนาฆ่าโจทก์ที่2จำเลยคงยิงที่อวัยวะสำคัญกว่านี้. ในคดีที่โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา288,289,80เมื่อทางพิจารณาปรากฏว่าการกระทำของจำเลยเป็นความผิดเพียงฐานทำร้ายร่างกายโจทก์ที่2ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา296และโจทก์ที่3ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา298ศาลลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา296และ298ได้. ฟ้องว่าโจทก์ที่2ได้รับอันตรายสาหัสต้องป่วยเจ็บด้วยอาการทุกขเวทนาเกินกว่า20วันหรือประกอบกรณียกิจตามปกติไม่ได้เกินกว่า20วันแต่โจทก์มิได้นำสืบให้ปรากฎว่าโจทก์ที่2ได้รับอันตรายแก่กายสาหัสดังที่โจทก์กล่าวในฟ้องลงโทษจำเลยฐานทำให้ได้รับอันตรายสาหัสไม่ได้. โจทก์ที่3ถูกยิงต้องรักษาตัวอยู่โรงพยาบาล12วันแล้วไปรักษาตัวต่อที่บ้านอีกโจทก์ที่3ต้องหยุดทำงานเกือบ1เดือนแพทย์ผู้ทำการตรวจบาดแผลโจทก์ที่3ได้ให้ความเห็นว่าบาดแผลหายได้ภายใน30วันฟังได้ว่าโจทก์ที่3ได้รับบาดเจ็บจากการยิงของจำเลยจนประกอบกรณียกิจตามปกติไม่ได้เกินกว่า20วัน.


2. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2158 - 2160/2529
จำเลยไม่มีสาเหตุโกรธเคืองกับโจทก์ที่ 2 ที่ 3 ขณะที่โจทก์ที่ 2 ที่ 3 ไปจับกุมจำเลย จำเลยยิงโจทก์ที่ 3 ถูกที่ต้นคอ ในขณะที่มีการยื้อแย่งปืนกันโดยจำเลยมิได้มีโอกาสเลือกยิง เมื่อจำเลยยิงโจทก์ที่ 3 ล้มลงแล้ว โจทก์ที่ 3 ไม่อยู่ในฐานะที่จะต่อสู้กับจำเลย จำเลยมีโอกาสจะยิงโจทก์ที่ 3 อีกเป็นเวลานานแต่จำเลยก็หาได้ยิงโจทก์ที่ 3 ไม่ จึงยังฟังไม่ได้ว่า จำเลยมีเจตนาฆ่าโจทก์ที่ 3 ส่วนที่ จำเลยยิงโจทก์ที่ 2 ปรากฏว่าขณะยิงจำเลยอยู่ใกล้กับโจทก์ที่ 2 และมีโอกาสจะเลือกยิงโจทก์ที่ 2 ตรงไหนก็ได้ แต่จำเลยกลับยิงที่ขาของโจทก์ที่ 2 แสดงว่าจำเลยไม่มีเจตนาฆ่าโจทก์ที่ 2 เพราะหากจำเลยมีเจตนาฆ่าโจทก์ที่ 2 จำเลยคงยิงที่อวัยวะสำคัญกว่านี้
ในคดีที่โจทก์ฟ้องขอให้ลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา288, 289, 80 เมื่อทางพิจารณาปรากฏว่าการกระทำของจำเลยเป็นความผิดเพียงฐานทำร้ายร่างกายโจทก์ที่ 2 ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 296 และโจทก์ที่ 3 ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 298 ศาลลงโทษจำเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 296 และ 298 ได้.
ฟ้องว่าโจทก์ที่ 2 ได้รับอันตรายสาหัสต้องป่วยเจ็บด้วยอาการทุกขเวทนาเกินกว่า 20 วัน หรือประกอบกรณียกิจตามปกติไม่ได้เกินกว่า 20 วันแต่โจทก์มิได้นำสืบให้ปรากฏว่า โจทก์ที่ 2 ได้รับอันตรายแก่กายสาหัสดังที่โจทก์กล่าวในฟ้อง ลงโทษจำเลยฐานทำให้ได้รับอันตรายสาหัสไม่ได้
โจทก์ที่ 3 ถูกยิงต้องรักษาตัวอยู่โรงพยาบาล 12 วัน แล้วไปรักษาตัวต่อที่บ้านอีก โจทก์ที่ 3 ต้องหยุดทำงานเกือบ 1 เดือนแพทย์ผู้ทำการตรวจบาดแผลโจทก์ที่ 3 ได้ให้ความเห็นว่าบาดแผลหายได้ภายใน 30 วัน ฟังได้ว่าโจทก์ที่ 3 ได้รับบาดเจ็บจากการยิงของจำเลยจนประกอบกรณียกิจตามปกติไม่ได้เกินกว่า 20 วัน


3. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 1599/2511
เมื่อรูปคดีฟังได้ว่า จำเลยคลอดบุตรออกมาแล้วไม่ขอความช่วยเหลือใคร. ไม่บอกให้ใครทราบ. จำเลยได้ดึงสายสะดือเด็กจนขาด แล้วทิ้งรกลงในส้วมและลาดน้ำล้างโลหิตจนหมด. เอาเด็กวางไว้ในอ่างปัสสาวะ. เปิดน้ำไหลลาดท่วมตัว ทำให้น้ำเข้าปากและปอดเด็ก. แล้วเด็กนั้นตายเพราะปอดบวมในวันรุ่งขึ้น. ถือได้แล้วว่าเป็นการที่จำเลยกระทำโดยรู้สึกในการที่กระทำนั้น. และจำเลยย่อมเล็งเห็นผลได้ว่า การทำดังนี้. เด็กบุตรของจำเลยอาจตายได้. ประกอบกับเหตุที่จำเลยทำไปทั้งนี้ก็เพราะจำเลยไม่ต้องการบุตรคนนี้. จึงเป็นการกระทำโดยเจตนาฆ่า ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 59 วรรคสอง.
กรณีตามพฤติการณ์หาใช่จำเลยมีเจตนาเพียงต้องการทิ้งบุตรของจำเลยไว้ให้แก่โรงพยาบาลไม่.
 

ข้อจำกัดความรับผิดชอบ: ข้อมูลเหล่านี้อาจไม่ใช่เวอร์ชันล่าสุด รัฐบาลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอาจมีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันหรือแม่นยำกว่า เราไม่รับประกันหรือรับประกันเกี่ยวกับความถูกต้อง ความสมบูรณ์ หรือความเพียงพอของข้อมูลที่มีอยู่ในเว็บไซต์นี้หรือข้อมูลที่เชื่อมโยงกับเว็บไซต์ของรัฐ โปรดตรวจสอบแหล่งที่มาอย่างเป็นทางการ
ข้อมูลอ้างอิงจากเว็บไซต์ : www.krisdika.go.th, deka.supremecourt.or.th
แนะนำโดย Legardy
mini_call_to_action_picture

ทนายความมากกว่า 500 คน ทั่วประเทศ พร้อมให้คำปรึกษา เพียง 33 บาท